นอนไม่หลับ แก้อย่างไรได้ ?

นอนไม่หลับ แก้อย่างไรได้ ?

อาการนอนไม่หลับเป็นปัญหาที่หลายคนเผชิญอยู่ แม้จะดูเป็นเรื่องเล็กน้อย แต่ถ้าปล่อยให้เกิดขึ้นเรื้อรัง อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพ และความเป็นอยู่ในระยะยาว อาการนอนไม่หลับอาจเป็นปัญหาที่ทำให้คุณรู้สึกไม่สบายใจและส่งผลกระทบต่อชีวิตประจำวัน แต่ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการดูแลสุขภาพอย่างเหมาะสม ก็สามารถกลับมานอนหลับอย่างมีคุณภาพได้  โดยวิธีแก้อาการนอนไม่หลับสามารถแก้ไขปัญหาได้หลากหลายวิธี สามารถทำได้โดยวิธีต่าง ๆ ดังนี้

เข้านอนในเวลาที่สม่ำเสมอกันในทุก ๆ วัน ทำให้ร่างกายชินกับเวลาเข้านอนและเวลาตื่นที่เป็นประจำทุกวัน

แสงสีฟ้าจากจอคอมพิวเตอร์และโทรศัพท์มือถือสามารถลดการผลิตฮอร์โมนเมลาโทนิน ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่ช่วยในการนอนหลับ ควรหลีกเลี่ยงการใช้จอเหล่านี้ก่อนนอนอย่างน้อย 1-2 ชั่วโมง

สามารถฝึกโดย การนั่งสมาธิ การเล่นโยคะ ฟังเพลงผ่อนคลาย หรือการทำกิจกรรมที่ช่วยผ่อนคลายจะช่วยลดระดับความเครียดและส่งเสริมการนอนหลับที่ดี

เพราะฤทธิ์ของคาเฟอีกและแอลกอฮอล์อาจรบกวนการนอนหลับได้

การออกกำลังกายเป็นประจำจะช่วยปรับปรุงคุณภาพการนอนหลับ แต่ควรหลีกเลี่ยงการออกกำลังกายหนักในช่วงเย็น เพราะอาจทำให้ร่างกายตื่นตัวและนอนไม่หลับได้

ปรึกษาแพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิตเมื่อมีปัญหาความเครียดหรืออารมณ์ที่ไม่สมดุล

  • ผลิตภัณฑ์จากนม ช่วยเพิ่มระดับเซโรโทนินและเมลาโทนินในร่างกาย
  • ปลาแซลมอน ปลาทูน่า และปลาอื่น ๆ มีโอเมก้า-3 และวิตามินดี ซึ่งมีบทบาทในการปรับปรุงการนอนหลับ
  • ไข่เป็นแหล่งโปรตีนที่ดีและมีทริปโตเฟนสูง การรับประทานไข่เป็นส่วนหนึ่งของอาหารเย็นจะช่วยให้ร่างกายผลิตเมลาโทนินได้มากขึ้น
  • ผักใบเขียว มีแมกนีเซียมและแคลเซียม ซึ่งเป็นสารอาหารที่ช่วยในการผ่อนคลายกล้ามเนื้อและระบบประสาท

หากมีปัญหานอนไม่หลับเรื้อรัง ควรรีบปรึกษาแพทย์เพื่อประเมินและรับคำแนะนำในการรักษาที่เหมาะสม ที่ V Precision Clinic มีวิธีช่วยฟื้นฟูอาการนอนไม่หลับได้หลายวิธีโดยอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์เพื่อประเมินวิธีการฟื้นฟูอาการให้เหมาะสมแต่ละท่าน หากยังไม่แน่ใจว่าคุณมีความเสี่ยงเป็นโรคนอนไม่หลับเรื้อรังอยู่หรือเปล่า ? ทำแบบทดสอบ เช็คอาการ “นอนไม่หลับ” ของคุณว่าอยู่ในระดับอันตรายหรือยัง ?

แบบทดสอบ เช็คอาการ "นอนไม่หลับ" ของคุณว่าอยู่ในระดับอันตรายหรือยัง ?

ฟื้นฟูอาการนอนไม่หลับที่ V Precision Clinic

  • ฮอร์โมนคอร์ติซอล (Cortisol): ฮอร์โมนนี้เป็นฮอร์โมนความเครียดที่มีระดับสูงในตอนเช้าเพื่อตื่น แต่หากระดับคอร์ติซอลสูงเกินไปในช่วงเย็นหรือกลางคืน อาจทำให้นอนไม่หลับได้
  • ฮอร์โมนเมลาโทนิน (Melatonin): ฮอร์โมนนี้ช่วยในการควบคุมวงจรการนอนหลับ และการตื่น ร่างกายจะผลิตเมลาโทนินในช่วงเย็นเมื่อเริ่มมืด แต่หากมีแสงสว่างจากจอคอมพิวเตอร์หรือโทรศัพท์มือถือมากเกินไปในช่วงกลางคืน อาจลดการผลิตเมลาโทนิน และทำให้นอนไม่หลับได้

การบำบัดด้วยออกซิเจนความกดอากาศสูง ช่วยเพิ่มการไหลเวียนของเลือด ช่วยฟื้นฟูและซ่อมแซมเซลล์ประสาทในสมองที่ควบคุมการนอนหลับ ช่วยลดระดับความเครียด ช่วยกระตุ้นการผลิตฮอร์โมนเมลาโทนิน ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่ควบคุมการนอนหลับ ช่วยปรับสมดุลของสารสื่อประสาทในสมอง

การบำบัดด้วยออกซิเจนความกดอากาศสูง ช่วยเพิ่มการไหลเวียนของเลือด ช่วยฟื้นฟูและซ่อมแซมเซลล์ประสาทในสมองที่ควบคุมการนอนหลับ ช่วยลดระดับความเครียด ช่วยกระตุ้นการผลิตฮอร์โมนเมลาโทนิน ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่ควบคุมการนอนหลับ ช่วยปรับสมดุลของสารสื่อประสาทในสมอง

การบำบัดด้วยความเย็น ช่วยให้ร่างกานรู้สึกผ่อนคลาย กระตุ้นการไหลเวียนของเลือด กระตุ้นการปล่อยสารเอ็นโดรฟิน ซึ่งเป็นสารที่ช่วยให้รู้สึกดี ช่วยลดความเครียดและความวิตกกังวลที่ทำให้นอนไม่หลับ และช่วยกระตุ้นการผลิตฮอร์โมนเมลาโทนิน ฮอร์โมนที่ควบคุมการนอนหลับ

เป็นการบำบัดด้วยวิตามิน ซึ่งประกอบไปด้วยส่วนผสมของวิตามินและแร่ธาตุต่างๆ เช่น วิตามินบีรวม วิตามินซี แมกนีเซียม และแร่ธาตุอื่น ๆ ช่วยบำรุงระบบประสาท ช่วยลดความเครียด และความวิตกกังวล ทำให้ร่างกายสามารถผ่อนคลายและนอนหลับได้ดีขึ้น ช่วยเพิ่มระดับพลังงานและความสดชื่นในร่างกาย ช่วยให้ร่างกายสามารถปรับตัวและพักผ่อนได้ดี

แบบทดสอบ เช็คอาการ "นอนไม่หลับ" ของคุณว่าอยู่ในระดับอันตรายหรือยัง ?

ลงทะเบียนทดลองทำครั้งแรก
เพิ่มประสิทธิภาพการนอนหลับด้วยออกซิเจนบริสุทธิ์ ราคา 999 บาท

การบำบัดด้วยออกซิเจนความกดอากาศสูง ช่วยเพิ่มการไหลเวียนของเลือด ช่วยฟื้นฟูและซ่อมแซมเซลล์ประสาทในสมองที่ควบคุมการนอนหลับ ช่วยลดระดับความเครียด ช่วยกระตุ้นการผลิตฮอร์โมน   เมลาโทนิน ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่ควบคุมการนอนหลับ ช่วยปรับสมดุลของสารสื่อประสาทในสมอง ทำให้เพิ่มประสิทธิภาพการนอนหลับได้ดียิ่งขึ้น

Relate Article

ภาวะของไตบวมน้ำ

ภาวะไตบวมน้ำ คื …

ตรวจสุขภาพ เตรียมพร้อมรับอายุ 40 ในวัย 35+

เมื่อย่างเข้าวั …

ภาวะวิตามินดีพร่องคืออะไร ?

ภาวะที่ระดับวิต …

ไวรัสตับอักเสบบี

โรคตับอักเสบบี …